สรุปเนื้อหาบทที่ 5 โลกของเครื่อข่าย
บทที่ 5 โลกของเครื่อข่าย
- เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อกัน วัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน และใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์- เครื่อข่ายอินเตอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์จำนวนมากที่เชื่อมต่อกันครอบคลุมทั่วโลก
- เกณฑ์ชี้วัดความเร็วอินเตอร์เน็ต ( ความกว้างของแถบความถี่ หรือ Bandwidth )
- สามารถตรวจสอบความเร็วในการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต โดยแบ่งเป็น
1. ความเร็วที่เครื่องลูกข่ายรับส่งข้อมูลกับเครื่องแม่ข่าย โดยการเช็คความเร็วในการดาวโหลด
2. Bandwidth เป็นการบอกความเร็วของการส่งข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต
- เว็บไซต์บริการทดสอบหาความเร็วของการส่งข้อมูล www.speedtest.net
- เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตในอดีตและปัจจุบัน
- กำเนิดขึ้นเมื่อ พศ. 2512 โดยพัฒนามาจาก ARPAnet เพื่อสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่คงความสามารถในการติดต่อสื่อสารถึงกันได้ ปี 2533 อาร์พาเน็ต ยุบบทบาทลง และสหรัฐเปลี่ยนไปใช้ NSFNET เป็นเครือข่าย backbone แทน
- ในประเทศไทยกำเนิดขึ้น ปี พศ. 2530 และปี พศ.2535 ศูนย์ NECTEC ได้ทำการเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์กับมหาลัย 6 แห่ง เข้าด้วยกัน เรียกว่า เครือข่ายไทยสาร
- การใช้งานอินเตอร์เน็ตชนิดเต็มรูปแบบตลอด 24 ชม. ในประเทศไทยเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อเดือน กรกฏาคม ปี 2535
- ปี 2537 การสื่อสารแห่งประเทศไทยได้ร่วมมือกับบริษัทเอกชน เปิดบริการอินเตอร์เน็ต เรียกว่า ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต หรือ ISP
- ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
1. เครือข่ายระดับท้องถิ่น
- เป็นเครือข่ายระยะไกล้ เครือข่ายมีขนาดเล็ก จะเชื่อมต่อกันในรัศมีไกล้ๆ สามารถเชื่อมต่อกันโดยไม่ต้องเชื่อมต่อกับองค์การโทรศัพท์
- มีการพัฒนาต่อเนื่อง ได้รับความนิยมสูง ใช้งานง่าย ค่าใช้จ่ายไม่สูงมาก
2.เครือข่ายระดับเมือง
- เป็นเครือข่ายระยะกลาง ประกอบด้วยกลุ่มของคอมพิวเตอร์ต่างๆที่เชื่อมต่อกันอยู่ ถ้าต้องการรับส่งข้อมูลมากกว่านั้น ต้องมีการเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายขององค์การโทรศัพท์
3.เครือข่ายระยะไกล
- เป็นเครือข่ายระยะไกล ทำการเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลกันเข้าด้วยกัน ระดับประเทศ ข้ามทวีป ทั่วโลก ความเร็วในการรับส่งข้อมูลแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับอัตรา เสียค่าบริการ
การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต
- จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
- เทลเน็ต
- การถ่ายโอนข้อมูล
- ระบบส่งข้อความทันที
- เว็บ
อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อ
- แผ่นวงจร ใช้ในการต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับสายนำสัญญาณ ลักษณะจะใช้เสียบเข้าในแผ่นวงจรหลักของเครื่อง คอมพิวเตอร์ จะมีช่องเสียบสำหรับนำสัญญาณ ปัจจุบันแผ่นวงจรจะมีการ์ดอยู่แล้ว
- อุปกรณ์จัดเส้นทาง ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อ เครือข่ายระยะไกลตั้งแต่สองเครือข่ายขึ้นไปเข้าด้วยกัน เลือกเส้นทางที่เหมาะสมมากที่สุด ในการส่งข้อมูล ปัจจุบัน ใช้ประชุมออนไลน์ การโทรศัพท์ผ่านอินเตอร์เน็ต
- โมเด็ม ทำหน้าที่ แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นแอนะล็อก และแปลงสัญญาณแอนะล็อกเป็นดิจิทัล แล้วส่งไปตามสายโทรศัพท์ เพื่อส่งไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทาง
- Analog Modem
- Cable Modem
- ADSL Modem
- สายคู่ตีเกลียวแบบหุ้มฉนวน และไม่หุ้มฉนวน
- สายเคเบิ้ลร่วมแกน
- สายใยแก้วนำแสง
- การสื่อสารแบบไร้สาย
การเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
- การเชื่อมต่อด้วย Cable Modem นิยมใช้กันส่วนใหญ่ ต้องเชื่อมต่อกับสายเคเบิ้ลร่วมแกน มีผู้ให้บริการ เช่น True Internet , ipstar
- เชื่อมต่อด้วย ADSL Modem ต้องเชื่อมต่อกับสายโทรศัพท์บ้าน มีบริษัทผู้ให้บริการ เช่น ทีโอที
- การเชื่อมต่อด้วย Fibre Optic Router เป็นบริการอินเตอร์เน็ตที่มีความเร็วสูงแบบใช้สายเคเบิ้ลร่วมแกนมาก เราเตอร์ต้องเชื่อมต่อกับใยแก้วนำแสง ผู้ให้บริการ เช่น AIS
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตตามบ้านที่อยู่อาศัย
- Wireless Router , Ethernet , Wi - Fi
- Wireless LAN
1. มาตรฐาน IEEE 802.11 ข้อด้อยของมาตรฐานนี้คือเรื่องความปลอดภัยที่มีช่องโหว่
2. มาตรฐาน IEEE 802.11a อัตราความเร็วสูงสุด 54 Mbs โดยใช้คลื่นวิทยุย่านความถี่ 5 GHz แต่ข้อเสียมีรัศมีการใช้งานในระยะสั้นและมีราคาแพง3. มาตรฐาน IEEE 802.11b อัตราความเร็วสูงสุดที่ 11 Mbs โดยใช้คลื่นสัญญาณวิทยุย่านความถี่ 2.4 GHzและรองรับเทคโนโลยี Bluetooth โทรศัพท์ไร้สายและเตาไมโครเวฟซึ่งในมาตรฐานนี้ได้เกิดคำว่า Wifi ขึ้นมาซึ่งเป็นการกำหนดอุปกรณ์ที่ได้เครื่องหมาย Wi-Fi ได้ผ่านการตรวจสอบและรับรองว่าเป็นไปตามข้อกำหนดของมาตรฐาน IEEE 802.11b
4. มาตรฐาน IEEE 802.11g อัตราความเร็วของการรับส่งข้อมูลในระดับ 54 Mbs โดยใช้เทคโนโลยี OFDM บนคลื่นสัญญาณวิทยุย่านความถี่ 2.4 GHz
5. มาตรฐาน IEEE 802.11e รองรับการใช้งานแบบมัลติมีเดียอย่าง VoIP (Voice over IP)
6. มาตรฐาน IEEE 802.11f เป็นมาตรฐานที่ออกมาเพื่อกำหนดการใช้งานของ AP (Access Point) เพื่อไม่ให้สัญญาณซ้อนทับกัน
7. มาตรฐาน IEEE 802.11h เป็นมาตรฐานที่ออกมารองรับเครือข่ายไร้สายที่ใช้งานย่านความถี่ 5 GHz ส่วนมาตรฐาน IEEE 802.11n ที่มีการใช้งานกันอยู่นั้นทาง IEEEได้รับรองมาตรฐานไปแล้วเมื่อปี 2009 นี้ที่ผ่านมา แต่อุปกรณ์และผู้ผลิต พร้อมกับผู้พัฒนาได้มีการพัฒนารองรับมาตรฐานนี้ออกมาก่อนหน้าปี 2009 แล้ว
แบ่งแบบการทำงานของ Wireless Router ได้สองแบบ
- แบบการทำงานเป็น Router จะทำหน้าที่คล้ายอุปกรณ์จัดหาเส้นทาง เพื่อหาเส้นทางระหว่างภายในบ้าน และ นอกบ้าน
- แบบการทำงานเป็น Bridge จะแค่ทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์เชื่อมเครือข่าย LAN ในบ้านและนอกบ้านให้เป็นเครือข่ายเดียวกัน นิยมใช้กันมากสะดวก รวดเร็ว
ระบบสื่อสารต่างๆ มีดังนี้
- 2G สำหรับส่งข้อมูลเสียงพูดเป็นหลัก มี GSM , GPRS , EDGE
- 3G สามารถส่งข้อมูลทั้งภาพและเสียงในรูปแบบมัลติเมียเดียได้อย่างรวดเร็ว เช่น WCDMA , HSPA , HSPA+
ประเทศไทยมีผู้ให้บริการอยู่สองประเภท คือ
- หน่วยงานราชการหรือสถาบันการศึกษา ให้บริการความเร็วสูงให้แกสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิก เช่น UniNet
- บริษัทผู้ให้บริการเชิงพาณิชย์ ให้บริการกับบุคคลทั่วไป ที่สมัครเข้าเป็นสามชิกเพื่อขอใช้บริการ
ขั้นตอนในการเลือก ISP
- ต้องมีความเสถียร การเชื่อมต่อไม่หลุดบ่อย มีจุดเชื่อมต่อสัญญาณไกล้บ้าน ความเร็วในการรับส่งข้อมูล เปรียบเทียบข้อเสนอพิเศษและบริการหลังกรขาย
จริยธรรมในการใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต
- ต้องมีเหตุผล รู้จักการใช้วิจารณญาณในการไตรตรองข้อมูลข่าวสาร
- มีความซื่อสัตย์
- หลีกเลี่ยงการเทลาะกับผู้อื่น
- รู้จกกล่าวขอบคุณ
- รู้จักข่มใจไม่เข้าไปในเว็บไซต์
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น