บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤษภาคม, 2017

บทที่ 10 กฎหมายและจริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปภาพ
บทที่  10  กฎหมายและจริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ  1. ทำไมต้องมีการออกกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ - สังคมสารสนเทศเป็นสังคมใหม่ - การอยู่ร่วมกันจำเป็นต้องมีกฎเกณฑ์ 2. กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ - โดยคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ( กสทช )  ไดทำการศึกษาและยกรางกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศจำนวน 6 ฉบับ ได้แก่ - กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยกระดาดเป็นการรองรับนิติสัมพันธ์ต่างๆ  เช่น การลงลายมือชื่อ การรับฟังพยานหลักฐาน - กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวนการใดๆ ทางเทคโนโลยีให้เสมอด้วยการลงลายมือชื่อธรรมดา - กฎหมายเกียวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ - กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อก่อให้เกิดการรับรองสิทธิ และให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล - กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กำหนดมาตรการทางอาญา ในการลง

บทที่ 9 ไอซีทีอย่างรู้เท่าทัน

บทที่ 9  ไอซีทีอย่างรู้เท่าทัน  ภัยที่มากับอินเตอร์เน็ต แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ ดังนี้  - ภัยที่มีผลทางด้านข้อมูล หรือ กับระบบคอมพิวเตอร์  - วายร้ายโจรกรรมข้อมูล  การสอดแนม ฟิชชิง สปายแวร์ - วายร้ายทำลายข้อมูล ไวรัส เวิร์ม โทรจันฮอร์ส - วายร้ายแทรกแซงการทำงาน  แสปม  การโจมตีแบบปฏิเสธการให้บริการ - ภัยที่มีผลทางด้านสังคม  - ภัยจากการแชท -ภัยจากการเล่นเกมส์ออนไลน์ - ภัยจากการท่องเว็บ - ภัยที่มีผลต่อสุขภาพ  - ดวงตา -ระบบประสาท - ระบบสืบพันธุ์ - โรคที่เกิดจากท่านั่งหรือการทำงานซ้ำซาก - โรคที่เกิดจากเชื่้อโรคที่มีอยู่ในคอมพิวตอร์ - โรคติดอินเตอร์เน็ต - โรคทนรอไม่ได้ - โรคสมาธิสั้น แนวทางการป้องกัน  - ผู้ใช้ต้องอัพเดตระบบปฏิบัติการอยู่เสมอ - ควรมีรหัสผ่าน - ป้องกันทางกายภาพ - มีโปรแกรมป้องกันไวรัส - เลือกใช้ช็อฟแวร์ที่น่าเชื่อถือ - มีมารยาทในการใช้อินเตอร์เน็ต - จัดท่านั่งให้ถูกวิธี ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ทำความสะอาด

บทที่ 8 ชีวิตง่ายๆ ในโลกดิจิทัล

บทที่ 8  ชีวิตง่ายๆ ในโลกดิจิทัล  พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์  - การใช้งานอินเตอร์เน็ตมากขึ้น มีความก้าวหน้า ทำให้ผู้คนใช้งานอินเตอร์เน็ตได้อย่างกว้างขวาง  จึงนำมาสร้างโอกาสทางธุรกิจ - การซื้อสินค้าผ่านเว็บไซต์  เช่น www.Ebay.com  ,  App store  , Google Play ความสำคัญของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มี 8 ประการ - ใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา - เข้าถึงได้ทั่ว - การมีมาตรฐานสากล - การรองรับสื่ออย่างครบถ้วนสมบูรณ์ - การมีปฏิสัมพันธ์ - การมีข้อมูลรองรับการใช้งานมาก - การตอบสนองความต้องการของแต่ละบุคคล - การมีเทคโนโลยีสังคม ความหมายของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์  หมายถึง การดำเนอนธุรกิจต่างๆ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สามารถแบ่งออกได้ 3 ลักษณะ ได้แก่ - การติดต่อสื่อสารประสานการทำงานร่วมกัน - การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ - ระบบธุรกิจภายในองค์การ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์  หมายถึง การผลิต การกระจายตลาด การขายสินค้าผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เช่น โทรศัพท์ โทรสาร รูปแบบของการดำเนินการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ พิจารณาในรูปแ

สรุปเนื้อหาบทที่ 7 สังคมโลกเสมือน

บทที่ 7    สังคมโลกเสมือน ความหมายของซอฟแวร์เครือข่ายสังคมออนไลน์   ซอฟแว์ที่ทำให้ผู้คนสามารถนัดพบปะเชื่อมสัมพันธ์แลกเปลี่ยนความรู้และความคิดเห็นในเรื่องที่สนใจ อย่างสร้างสรรค์ โดยมีคอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลาง เกิดเป็นสังคมหรือชุมชนออนไลน์  แบ่งออกเป็น 4 ประเภทได้แก่ 1. ประเภทบริหารจัดการความรู้  - จะอยู่ในรูปแบบของเว็บแอพพลิเคชั่น  - เก็บเรื่องราวต่างๆ การบันทึก การแสดงความเห็นในเรื่องส่วนตัว หรือเรื่องทั่วๆ ไป เช่น บล็อก วิกิ  - บล็อก คือ การบันทีกบทความของตนเอง อาจจะเป็นเรื่องราวต่าง ๆ  - วิกิ คือ เป็นการจัดการความรู้ สามารถร่วมแก้ไข และเพิ่มเนื้อหาได้  2 . ประเภทเครื่องมือการติดต่อสื่อสาร - ใช้เป็นเครื่องมือเพื่อติดต่อสื่อสารทุกประเภท เช่น การสื่อสารส่วนตัวหรือธุรกิจ   - เช่น อีเมล โปรแกรมแชท โปรแกรมประชุมออนไลน์  - อีเมล คือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์  - แชทรูม คือ การสนทนาอย่างเป็นกันเอง มีผู้อื่นมาร่วมสนทนาด้วย   - เมสเซนเจอร์  คือ รับส่งข้อมูลได้รวดเร็ว ข้อความหรือ รูปภาพ  3. ประเภทเครื่องมือเพื่อร่วมป